เนื่องจากจุดต่าง
ๆ บนพื้นโลก จะเห็นดวงอาทิตย์แตกต่างกันและการตกเมอริเดียนของคุณในเวลา 12:00 น. จะมีข้อแตกต่างระหว่างคนที่อยู่ที่จังหวัดอุบลราชธานี กับจังหวัดกาญจนบุรี
ดังนั้นในแต่ละประเทศ จะต้องใช้จุดอ้างอิงระบบเวลาจุดเดียวกันและกำหนดให้เป็นเวลาราชการ
เช่น ของประเทศไทย กำหนดจุดอ้างอิงที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก ซึ่งอยู่แถว
ๆ จังหวัดอุบลราชธานี
เรามีวิธีการกำหนดเวลาในระบบโซลาร์ได้หลายแบบ
เวลาตามที่เห็นจริง (Apparent) เป็นเวลาที่เห็นดวงอาทิตย์จริง
ณ จุดที่สังเกตการณ์นั้น อย่างไรก็ดี ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ไปบนทรงกลมท้องฟ้า
และโลกหมุนรอบตัวเอง ทำให้มีโอกาสคิดคำนวณคลาดเคลื่อนได้ |
 เวลาตามที่เห็นจริง |
 เวลาเฉลี่ย |
เวลาเฉลี่ย เป็นการหาค่าเวลาในท้องถิ่นที่
3 ตำแหน่ง แล้วนำมาเฉลี่ย โดยถือว่าเวลาที่ท้องถิ่นเปลี่ยนตำแหน่งได้เท่ากับ
1 องศา โดยมีค่าเท่ากับ 4 นาที |
เวลามาตรฐาน
เป็นเวลาเฉลี่ยที่คิดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งบนพื้นโลก โดยใช้เวลามาตรฐานนาฬิกา
เช่น มาตรฐานกรีนิช) และใช้อ้างอิงกับพื้นที่อื่นโดยถือว่าขอบเขตครอบคลุมไปได้
15 ํ |
 เวลามาตรฐาน |
ที่มา : รศ. ยืน ภู่วรวรรณ, สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์