กราฟ
คือ
โครง
สร้าง
ที่
มี
จุด
และ
เส้น
ลาก
ระหว่าง
จุด ซึ่ง
เรา
เรียก
ว่า
vertex
หรือ
โหนด (node)
และ
อาร์ค (arc)
ตัว
อย่าง
กราฟ
มี โหนด N = (a, b, c, d, e, f)
มี อาร์ค A = (ab, ac, bc, be, bf, ef, ed, cd, df)
ถ้า
กราฟ
ที่
ไม่
มี
การ
ลาด
เชื่อม
ต่อ
ระหว่าง
โหนดเลย มี
แต่
โหนดเรา
เรียก
ว่า
กราฟ
ว่าง (null graph)
ตัว
อย่าง
กราฟ
ว่าง
กราฟ
ที่
มี
การ
เชื่อม
ต่อ
ระหว่าง
โหนดได้ครบ
สมบูรณ์
เรียก
ว่า
กราฟ
สมบูรณ์ (complete graph)
ตัว
อย่าง
กราฟ
สมบูรณ์
ชนิด
ของ
กราฟ
กราฟ
ที่
ใช้
ทางคณิต
ศาสตร์
ยัง
มี
การ
แบ่ง กราฟ
ใน
ลักษณะ
ทิศ
ทางที่
ประกอบ
ใน
ส่วน
ของ
แต่
ละ
โหนด ว่า
แต่
ละ
เส้น (edge) มี
ทิศ
ทางไป
ใน
ทางใด ดัง
นั้น
จึง
แบ่ง
ออก
เป็น
กราฟ
ไม่
มี
ทิศ
ทาง
กราฟ
มี
ทิศ
ทาง
กราฟ
มี
ทิศ
ทางเดียว
กราฟ
มี
สอง
ทิศ
ทาง
ลักษณะ
สมบัติ
ของ
กราฟ
การ
แทน
เหตุ
การณ์ แทน
เรื่อง
ราว แทน
สิ่ง
ของ ใน
ลักษณะ
กราฟ
เป็น
เรื่อง
ที่
เกี่ยว
ข้องกับชีวิต
ประจำ
วัน
อยู่
มาก เช่น เรา
อาจ
เรียง
ลำ
ดับ
การ
ทำ
งาน
ของ
โครง
การ
เป็น
ลำ
ดับ
ต่อ
เนื่อง
กัน
เกี่ยว
ข้อง
กัน
เป็น
กราฟ
ได้ เรา
อาจ
แทน
เหตุ
การณ์
ของ
แผน
งาน
ที่
วาง
ไว้
เป็น
กราฟ เรา
อาจ
แทน
แผน
ที่
เมือง
เป็น
กราฟ เรา
อาจ
แทน
ระบบ
การ
ส่ง
จ่าย
ประปา ไฟ
ฟ้า โทรศัพท์ หรือ
เครือ
ข่าย
คอมพิวเตอร์
ด้วย
กราฟ
ลักษณะ
ของ
กราฟ
จึง
ประกอบ
ด้วย
โหนด (node) และ
เส้น (edge) ที่
ลาก
ระหว่าง
โหนด กราฟจึง
เป็น
กราฟ
ที่
มี
ทิศ
ทางแบบ
ทางเดียว
กราฟ
ที่
มี
สอง
ทิศ
ทาง
และ
กราฟ
ที่
ไม่
มี
ทิศ
ทาง
ก็
ได้
คุณสมบัติ
ของ
กราฟ
ยัง
มี
ส่วน
ลักษณะ
พิเศษ
เฉพาะ
ที่
นำ
มา
ใช้
ประ
โยชน์
ได้
หลาย
อย่าง เช่น
เส้น
ทางกราฟ (path)
ต้น
ไม้ (tree)
พลาน่ากราฟ (planar graph)
คุณสมบัติ
เหล่า
นี้
สามารถ
นำ
มา
ประยุกต์
ใช้
งาน
ต่าง ๆ ได้
หลาย
อย่าง โดย
เฉพาะ
การ
ประยุกต์
เพื่อ
ใช้
ใน
การ
แก้
ปัญหา
สมัย
ใหม่
ต่าง ๆ
ที่มา : รศ. ยืน ภู่วรวรรณ, สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์